ที่มาของนิโคติน คือ ชื่อสามัญของต้นยาสูบ Nicotiana tabacum ซึ่งนาย Jean Nicot เป็นผู้ตั้งขึ้น ถือเป็นบุคคลที่ส่งเมล็ดยาสูบจากโปรตุเกสไปปารีสในปี ค.ศ. 1550 และ โดยมีการโปรโมตให้ใช้ใบยาสูบเป็นยา สามารถแยกนิโคตินออกมาได้สำเร็จเมื่อปี ค.ศ. 1828 สูตรโมเลกุลได้ถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1843 และถูกสังเคราะห์ขึ้นได้เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1904 ก่อนจะมาเป็นส่วนประกอบสำคัญหลักในน้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า องุ่น ในปัจจุบัน

เคมีของสารนิโคติน

นิโคตินเป็นสารที่มีลักษณะเป็นน้ำมัน แต่สามารถดูดซับและละลายในน้ำได้ สามารถทะลุผ่านผิวหนังของคนและสัตว์ได้ง่าย และระเหยได้ง่ายที่อุณหภูมิห้อง เนื่องจากนิโคตินเป็นสารประกอบไนโตรเจนที่เป็นเบส จึงสามารถทำปฏิกิริยากับกรดได้เป็นเกลือ นิโคตินซึ่งมีสภาพเป็นของแข็งที่ละลายน้ำได้ เนื่องจากนิโคตินในรูปของเบสอิสระจะสามารถถูกเผาไหม้และระเหยไปได้ที่อุณหภูมิ 95 องศาเซลเซียส ดังนั้นนิโคตินที่อยู่ในบุหรี่ไฟฟ้าจึงสามารถระเหยไปได้เมื่อถูกเผาไหม้ หลังจากการสูดควันบุหรี่ไฟฟ้า นิโคตินจะผ่านเข้าไปยังกระแสเลือดและผ่านเยื่อหุ้มสมอง ระดับสูงสุดในสมองใช้เวลา 3-5 นาที และสะสมในร่างกายผู้สูบ อย่างไรก็ตาม ปริมาณของนิโคตินที่ได้รับจากการสูบบุหรี่นั้นมากพอที่จะทำให้เกิดผลต่อร่างกายได้ในระยะยาว

สารนิโคตินในน้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า องุ่น คืออะไร

นิโคตินในน้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า องุ่น เป็นสารประกอบอัลคาลอยด์ชนิดหนึ่ง ไม่มีสี ซึ่งพบในต้นยาสูบทุกสายพันธุ์ และความเข้มข้นจะมีมากในใบยาสูบมากกว่าส่วนอื่น ๆ โดยนิโคตินมีฤทธิ์เป็นพิษกับระบบประสาท และถือเป็นยาฆ่าแมลงอย่างหนึ่ง แต่ถ้าได้รับในจำนวนไม่มาก จะก่อให้เกิดการกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ที่สามารถส่งผลคลายความกังวล ทำให้เกิดความผ่อนคลาย หรือง่วงนอนได้ หากเมื่อมีการได้รับในจำนวนมาก อาจจะถึงตาย แต่เมื่อได้รับมากถึงจำนวนหนึ่ง จะเปลี่ยนจากการกระตุ้นสมองเป็นการกดสมอง และด้วยรูปแบบของหลักการทำของสารนิโคตินจะทำให้ร่างกายเสพติดการใช้บุหรี่ และจะเข้าไปกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง เพิ่มความดันโลหิต เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจและการหายใจ ทำให้เกิดโรคมะเร็งปอดและโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ

พืชที่สามารถพบสารนิโคติน

สารนิโคติน ยังสามารถพบได้ในพืชจำพวกอื่นอีกคือ พืชตระกูล Solanaceae (nightshade) ได้แก่ มะเขือเทศ, มันฝรั่ง, มะเขือม่วง, พริกไทยเขียว และในใบของต้น Coca แต่พบว่ามีจำนวนเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับน้ำหนัก

อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่มีผลต่อการเสพติดนิโคตินหรือการติดบุหรี่ไฟฟ้า ขึ้นอยู่กับการตอบสนองของแต่ละบุคคล ที่จะก่อให้เกิดผลเสียต่อร่างกายไม่ช้าก็เร็ว